ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร)
ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร)
ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร)
ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร)
ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร) ถูกจัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนองพระราชดำริ มุ่งเน้นความร่วมมือกับหน่วยงานท้องถิ่นในการพัฒนาเครือข่าย การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช ทรัพยากรธรรมชาติ และภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม กำหนดพื้นที่เป้าหมายได้แก่
ป่าเขาพลวง วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ จ.ลพบุรี
วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ จ.ลพบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
+++ข่าวประชาสัมพันธ์+++
วันที่ 29 - 30 มิถุนายน พ.ศ. 2568 ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร) เข้าร่วมประชุมกลุ่มสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน การเตรียมความพร้อมในการประเมินสถานศึกษา ณ ศูนย์ประสานงานฯ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จังหวัดนครราชสีมา โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.อนันตกุล อินทรผดุง รองผู้อำนวยการศูนย์ประสานงาน อพ.สธ.-มรภ.พระนคร และคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ เข้าร่วมประชุมในวันดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อเตรียมความพร้อมในการประเมินสมาชิกงานสวนนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ที่ขอเข้ารับพระรา...
+++ข่าวประชาสัมพันธ์+++
เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2568 ที่ผ่านมา นำโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประกายดาว ยิ่งสง่า (หัวหน้าโครงการฯ) สาขาการจัดการเทคโนโลยีการเกษตรสมัยใหม่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร พร้อมด้วยคณะทำงาน ได้จัดกิจกรรมให้ความรู้และทดสอบความชอบผลิตภัณฑ์จากกล้วยพื้นถิ่นบางสายพันธุ์ที่พบในพื้นที่อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ภายใต้ร่มโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สนองพระราชดำริ (อพ.สธ.) กิจกรรมย่อย การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากกล้วยพื้นถิ่นบางสายพันธุ์ที่พบในพื้นที่อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ประจำปีงบ...
+++ข่าวประชาสัมพันธ์+++
เมื่อวันที่ 10 - 13 มิถุนายน พ.ศ. 2568 ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร) ได้ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น หลักสูตรวิทยากรผู้ช่วย มาตรฐาน อพ.สธ. : 6 งานฐานทรัพยากรท้องถิ่น ณ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้ เพื่อพัฒนามาตรฐานการดำเนินงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นร่วมกันทั้งประเทศ และเพื่อเตรียมความพร้อมในการเป็นวิทยากรประจำศูนย์ประสานงานที่จะเปิดอบรมให้กับสมาชิกงานฐานทรัพยากรท้องถิ่นในปี พ.ศ. 2570 ในอนาคต
+++ข่าวประชาสัมพันธ์+++
ศูนย์ประสานงานโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร) ได้ดำเนินงานจัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การวิพากษ์โครงร่างกิจกรรมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (อพ.สธ.) ปีงบประมาณ 2570 สนองพระราชดำริโดย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร” เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 และ วันศุกร์ที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2568 ณ ห้องประชุมสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เพื่อให้บุคลากร อพ.สธ.-มรภ.พระนคร มีความความ...
+++ข่าวประชาสัมพันธ์+++
สาขานิเทศศาสตร์ มรภ.พระนคร เผยแพร่วัฒนธรรมมอญคลองสามวา ผ่านสแตนดี้ "สไบมอญคลองสามวา"
สาขาวิชานิเทศศาสตร์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร (มรภ.พระนคร) โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐา หรุ่นเกษม อาจารย์สิริมณฑ์ พึ่งสังวาลย์ และอาจารย์นิศรารัตน์ วิไลลักษณ์ ได้ดำเนินโครงการสำรวจและเก็บรวบรวมทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในพื้นที่ชุมชนแป้นทองสัมพันธ์ (มอญคลองสามวา) แขวงสามวาตะวันตก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร งบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
ผลลัพธ์สำคัญของโครงการคือการสร้างสรรค์สแตนดี้ชุด "สไบมอญคลองสามวา" ซึ่งเป็นสื่อประชาสัมพันธ์ที่นำเสนอ...
1) กิจกรรม การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารหมักภูมิปัญญาเขตคลองสามวา เพื่อแนวทางการนำไปสู่การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
2) กิจกรรม สำรวจและเก็บรวบรวมพันธุกรรมของแบคทีเรียบาซิลลัสที่เป็นประโยชน์ ต่อพืชบนพื้นที่ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
3) กิจกรรม สำรวจและเก็บรวบรวมข้อมูลการกักเก็บคาร์บอนจากกิจกรรมของจุลินทรีย์ดินในพื้นที่การเกษตรที่มีความหลากหลาย ณ ตำบลเกาะรัง อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
4) กิจกรรม การประยุกต์ใช้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมมะลิสยามในพื้นที่วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร จังหวัดลพบุรี เพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน
5) กิจกรรม การประยุกต์ใช้การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและเปรียบเทียบลักษณะทางพันธุกรรมของทองหลางในตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อการอนุรักษ์อย่างยั่งยืน
6) กิจกรรม การพัฒนำผลิตภัณฑ์จากกล้วยพื้นถิ่นบางสายพันธุ์ที่พบในพื้นที่ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
7) กิจกรรม การใช้ประโยชน์จากสารสกัดต้นทองหลางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง
8) กิจกรรม ผลการยับยั้งการเสื่อมสภาพของโปรตีนด้วยสารสกัดต้นแจง
9) กิจกรรม ปรับปรุงเว็บไซต์ประชาสัมพันธ์หน่วยงานและเผยแพร่ความรู้ อพ.สธ. มรภ.พระนคร ประจำปีการศึกษา ๒๕๖๘
10) กิจกรรม สนับสนุนองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นที่เข้ำร่วมสนองพระราชดำริ อพ.สธ. ดำเนินงานในฐานทรัพยากรท้องถิ่น
11) กิจกรรม พัฒนาศูนย์เรียนรู้ อนุรักษ์ พัฒนา และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน สู่เศรษฐกิจพอเพียง ณ วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
12) กิจกรรม การศึกษาศักยภาพสาหร่ายไกในการนำมาสร้างผลิตภัณฑ์ระบบนิเวศจำลองขนาดเล็กที่สวยงามสำหรับใช้ตกแต่งบ้าน
13) กิจกรรม บริหารจัดการโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชฯ (อพ.สธ.-มรภ.พระนคร)
14) กิจกรรม การศึกษาสัณฐานวิทยาของพืชสกุลเปราะ (Kaempferia) ที่พบที่ป่าปกปักเขาพลวง วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
15) กิจกรรม รวบรวมข้อมูลความถูกต้องทางวิชาการด้านพฤกษศาสตร์ ของพรรณไม้ในพื้นที่ศึกษาที่ ๑ สวนพฤกษศาสตร์
16) กิจกรรม การใช้ประโยชน์จากขมิ้นชันในเขตบริเวณมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร ในการผลิตสีธรรมชาติ
17) กิจกรรม เก็บรักษาความหลากหลายของต้นทองหลางในรูปแบบสารพันธุกรรม ตำบลปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี
18) กิจกรรม การสำรวจและเก็บรวมรวมพืชมะตาด กระเจี๊ยบมอญ ในพื้นที่ชุมชนมอญคลองสามวา ชุมชนแป้นทองสัมพันธ์ แขวงสามวาตะวันตก เขตคลองสามวา กรุงเทพมหานคร
19) กิจกรรม การใช้ประโยชน์จากใบทองหลางพัฒนาเป็นอาหารสมุนไพร ตำบลปากเกร็ด อำเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
20) กิจกรรม การป้องกันไฟป่าพื้นที่ป่าเขาพลวง วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์
21) กิจกรรม การศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสาหร่ายไกก่อนและหลังการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบสาหร่ายไก
22) กิจกรรม การทำบทเรียนท้องถิ่น “ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ทรัพยากรวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ตำบลท่าดินดำ อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี"
23) กิจกรรม ปลูกขยายพันธุ์เปราะป่าในโรงเรือนเพาะชำ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร
24) กิจกรรม การศึกษาสัณฐานวิทยาของมะลิสยามที่พบบริเวณโดยรอบวิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร อำเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี
25) กิจกรรม สำรวจเก็บรวบรวมภูมิปัญญาหมอพื้นบ้านในพื้นที่เทศบาลตำบลบางม่วง อำเภอบางใหญ่ ภายใต้รัศมีอย่างน้อย 50 กิโลเมตร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร
26) กิจกรรม การสำรวจและศึกษาความหลากหลายและโครงสร้างทางพันธุกรรมของกล้วย ตำบลเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อการอนุรักษ์และการประยุกต์ใช้อย่างยั่งยืน
27) กิจกรรม การสำรวจและระบุพิกัดมะลิสยามในพื้นที่วิทยาลัยชัยบาดาลพิพัฒน์
28) กิจกรรม การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีเบื้องต้นของสารสกัดหอมจากดอกมะลิสยาม ด้วยเทคนิค Gas Chromatography Mass Spectrometry และฤทธิ์ยับยั้ง ANGIOTENSIN CONVERTING ENZYME